วันพุธที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2556


เนื้อหาบทที่ 8
การเขียนข่าว

ข่าว คือ การรายงานข้อเท็จจริงของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ตลอดจนความคิดเห็นของบุคคลสาคัญ ซึ่งเป็นเรื่องราวที่ น่าสนใจ ซึ่งประชาชนให้ความสาคัญและสนใจ รวมทั้งมีผลกระทบต่อคนจานวนมาก



 องค์ประกอบของข่าว

 ความสดใหม่(Timeliness) หรือความรวดเร็ว(Immediacy)

 ปุถุชนสนใจ(Human Interest)

 ความใกล้ชิด(Proximity of Nearness)

 ความมีชื่อเสียงหรือความสาคัญ(Prominence)

 ผลกระทบกระเทือน(Consequence)

 ความขัดแย้ง(Conflict)

 ความมีเงื่อนงา(Suspense)

 ความก้าวหน้า(Progress)

 องค์ประกอบทางเพศ(Sex)

 ความแปลกประหลาด(Oddity or Unusualness)

คุณสมบัติของข่าว

ข่าวที่ดีควรมีคุณสมบัติดังนี้


1. มีความถูกต้องครบถ้วน(Accuracy) หมายถึงข้อเท็จจริงต่างๆที่ปรากฏในข่าวเช่นชื่อนามสกุลยศตาแหน่งอายุอาชีพเพศวันเวลาสถานที่ฯลฯต้องครบถ้วนถูกต้องตรวจสอบแล้วรวมถึงการนาเสนอข้อเท็จจริงที่ได้จากการสัมภาษณ์ความคิดเห็นต้องครบถ้วนกระบวนความไม่ตัดทอนบิดเบือนจนทาให้เกิดผลเสียต่อฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง

2. มีความสมดุลและเป็นธรรม(Balance and Fairness) การรายงานข่าวผู้รายงานต้องนาเสนอข้อมูลทุกแง่มุมอย่างสมดุลต้องให้ผู้อ่านทราบข้อมูลเหมือนอยู่ในเหตุการณ์ดังนั้นต้องลาดับข่าวอย่างต่อเนื่องหากเป็นข่าวความขัดแย้งของบุคคลสองฝ่ายก็ต้องนาความคิดเห็นของคนทั้งสองฝ่ายที่ชี้แจงแสดงความคิดเห็นที่โต้แย้งมาเสนออย่างเป็นธรรมและสมดุล

3. มีความเที่ยงตรง(Objectivity) หมายถึงการเขียนข่าวหรือรายงานเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นอย่างตรงไปตรงมาไม่มีอคติไม่ใส่อารมณ์ความคิดเห็นและความรู้สึกส่วนตัวลงในข่าวที่นาเสนอสิ่งเหล่านี้ทาให้ข่าวขาดความเที่ยงตรงบิดเบือนไปจากความเป็นจริง

4. เข้าใจง่ายกะทัดรัดและชัดเจน(Simplicity, Concise, and Clear) ภาษาที่ใช้ในการเขียนข่าวต้องเป็นภาษาที่เข้าใจง่ายมีความกะทัดรัดและชัดเจนไม่กากวม



5. ข่าวต้องมี5W1H ได้แก่Who What Where When Why และHow

ใคร(Who) ใครคือบุคคลหรืออื่นๆที่ตกเป็นข่าว



 ทาอะไร(What) เกิดอะไรขึ้นการกระทาหรือเหตุการณ์ใดที่สาคัญ

 ที่ไหน(Where) การกระทาหรือเหตุการณ์นั้นๆเกิดขึ้นที่ไหน

 เมื่อไร(When) การกระทาหรือเหตุการณ์นั้นๆเกิดขึ้นวันเวลาใด

 

 ทาไม(Why) เหตุใดจึงเกิดเหตุการณ์นั้นขึ้น

 อย่างไร(How) รายละเอียดของเหตุการณ์เช่นเกิดขึ้นอย่างไรดาเนินอย่างไร

โครงสร้างของข่าวและการใช้ภาษา

1. พาดหัวข่าว(Headline) คือส่วนที่เป็นข้อความที่บอกประเด็นสาคัญของข่าวเพื่อให้ผู้อ่านทราบว่าวันนี้เกิดอะไรขึ้นบ้างใช้เพียงข้อความสั้นๆแต่สามารถเสนอสาระสาคัญให้แก่ผู้อ่านได้



 ต้องดึงดูดความสนใจและกระทบต่อความรู้สึกของผู้อ่าน

 การใช้ถ้อยคาที่สั้นที่สุดให้สามารถอธิบายเนื้อความข่าวได้มากที่สุดอาจใช้คาที่รุนแรงคาแสลงใช้สานวน

2. ความนาข่าว(Leads) หรือวรรคนาคือสาระสาคัญของเนื้อหาข่าวที่เขียนแบบย่อเพื่อสร้างความเข้าใจทั่วๆไปแก่ผู้อ่านเมื่ออ่านจบจะเข้าใจเรื่องแบบกว้างๆว่าเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับอะไร



ความนาที่นิยมเขียนกันมากและเป็นพื้นฐานทั่วไปของการเขียนข่าวคือความนาข่าวแบบสรุปคือเป็นการสรุปย่อสาระสาคัญจากข้อเท็จจริงอันเป็นองค์ประกอบของข่าวคือ5 W + 1H

3. ส่วนเชื่อมความนาข่าวกับเนื้อเรื่อง(Neck)

ส่วนที่เชื่อมระหว่างความนาข่าวกับเนื้อเรื่องเพื่อให้การเขียนข่าวเชื่อมโยงต่อเนื่องโดยเป็นส่วนที่กล่าวถึงข่าวที่เกิดมาก่อนหน้านี้ซึ่งเกี่ยวพันกับข่าวที่รายงานอยู่เพื่อให้ผู้อ่านระลึกถึงความเดิมของข่าวนั้นจะมีหรือไม่ขึ้นอยู่กับความจาเป็นของเนื้อหาบางครั้งอาจจะเขียนไว้ที่ส่วนท้ายของข่าว



4. เนื้อเรื่องหรือเนื้อข่าว(Body)

คือส่วนที่อธิบายหรือขยายรายละเอียดของข้อความที่ได้กล่าวไปบ้างแล้วในส่วนความนาข่าวและเพิ่มเติมข้อมูลที่ยังไม่ได้กล่าวไว้ในความนาข่าวเพื่อให้ผู้อ่านทราบเรื่องราวและเข้าใจลาดับความสาคัญของเหตุการณ์

4.1 การเขียนเนื้อเรื่องข่าวที่เสนอข้อเท็จจริง

4.2 การเขียนเนื้อเรื่องข่าวที่แสดงความเคลื่อนไหว

4.3 การเขียนเนื้อเรื่องข่าวที่เป็นคาพูด

รูปแบบการเขียนข่าว

1. แบบพีระมิดหัวกลับ(Inverted Pyramid) นิยมใช้ในการเขียนข่าวหนังสือพิมพ์ในปัจจุบันผู้เขียนข่าวจะรายงานสาระสาคัญที่สุดของข่าวก่อนแล้วจึงเขียนส่วนสาคัญรองๆลงไปมักใช้เขียนกับเหตุการณ์ที่มีเนื้อหาเดียวเป็นเหตุการณ์ที่ไม่ซับซ้อน

2. แบบพีระมิดหัวตั้ง(Upright Pyramid) ไม่ค่อยนิยมใช้ในปัจจุบันผู้เขียนข่าวจะเรียงลาดับข้อมูลที่มีความสาคัญจากน้อยไปหามากที่สุด(climax) ไม่เปิดเผยผลของข่าวก่อนเพื่อดึงดูดความสนใจไว้ตอนท้ายของเรื่อง

3.แบบสี่เหลี่ยมผืนผ้าทรงยืนข่าวที่เขียนจะไม่ถูกจากัดความสั้น-ยาวด้วยพื้นที่ตีพิมพ์โดยรายละเอียดข้อมูลของข่าวแต่ละข้อมูลในเหตุการณ์นั้นมีความเท่าเทียมกันหมดและแต่ละข้อมูลมีเหตุผลสนับสนุนซึ่งกันและกัน




ข้อควรระวังในการเขียนข่าว
1. ชื่อและนามสกุลต้องสะกดให้ถูกต้องเพราะว่าถ้าผิดพลาดอาจกลายเป็นคนละบุคคลหรือเกิดความเสียหายได้

2. ยศตาแหน่งต้องระบุให้ตรงกับความเป็นจริงขณะนั้นเช่นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย

3. คานาหน้าชื่อและบรรดาศักดิ์ต้องระบุเรียงลาดับให้ถูกต้อง

4. การใช้อักษรย่อหรือตัวย่อต่างๆควรตรวจสอบให้ดี

5. ไม่สอดแทรกความคิดเห็นส่วนตัวเข้าไป

6. การเขียนตัวเลขถ้ามีจานวนมากอาจใช้ตัวอักษรแทนถ้าไม่ใช่ตัวเลขที่แน่นอนควรใช้คาว่าประมาณ

7. หลีกเลี่ยงการใช้ศัพท์เทคนิคที่เข้าใจยาก


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น